ใครๆก็แก้กฎหมายได้(คุณก็ด้วย)
Bookmark and Share

วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ดอนเมือง กรุงเทพฯ

สัมนาสาธารณะ : กลไกปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

วันพุธที่ 6  ตุลาคม 2553

จัดโดย คณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความรับผิดชอบสื่อมวลชน ร่วมกับเครือข่ายปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง



1. หลักการและเหตุผล  


วิกฤติ การณ์ของสังคมที่มีความซับซ้อนและสะสมมายาวนาน   ส่งผลให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมหลายด้าน  จนกระทั่งเกิดความขัดแย้งทางด้านความคิดและการเมืองอย่างรุนแรง ในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา   จึงมีกระแสการเรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศไทยในทุกด้านอย่างจริงจัง  และ” การปฏิรูปสื่อ”เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการ ให้เกิดผล  เพื่อให้สื่อได้ทำบทบาทหน้าที่อย่างเหมาะสมและร่วมนำพาประเทศชาติให้หลุดพ้น วิกฤติและก้าวไปข้างหน้า

ดังที่ทราบกันดีว่า  ในอดีตมีความพยายามในการผลักดันการปฏิรูปสื่อมาไม่ต่ำกว่าทศวรรษ  มีการปรับปรุงและพัฒนากฏหมายหลายฉบับ   มีความพยายามจัดการเรื่องโครงสร้าง  ความเป็นเจ้าของสื่อ การพัฒนามาตรฐานจรรยาบรรณ ในสื่อต่างๆ ฯลฯ   กระนั้นการปฏิรูปก็ยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย   เพราะการปฏิรูปสื่อนั้นต้องดำเนินการร่วมกันทุกฝ่าย  และในทุกกระบวนการ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน   ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการปฏิรูปและการพัฒนาที่ยั่งยืน

จะเห็น ว่าในระยะหลังๆ  ภาคประชาชนหลายกลุ่ม เริ่มเข้ามามีบทบาทในการเฝ้าระวังตรวจสอบสื่อ   แต่ยังสร้างการเปลี่ยนแปลงของสื่อได้ไม่มากนัก  เพราะมีอุปสรรคและช่องว่างหลายประการ อาทิ   ขาดการยอมรับจากองค์กรสื่อและองค์กรรัฐ  ไม่ทันต่อสถานการณ์ของสื่อที่มีความรวดเร็วสูง   มีลักษณะต่างคนต่างทำ ฯลฯ ที่สำคัญประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงผลกระทบของสื่อ และไม่เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ

แนว โน้มในอนาคต เทคโนโลยีการสื่อสารจะมีการเติบโตและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สื่อรูปแบบใหม่ๆจะเข้าถึงชุมชนอย่างกว้างขวาง สื่อจะมีบทบาทมากยิ่งขึ้นในวิถีชีวิตของผู้คน    ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะตระหนักในเรื่องนี้  มีการเรียนรู้เท่าทันสื่อ  มีบทบาทมากขึ้นในการตรวจสอบการทำหน้าที่ของสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นอกจากกลไกตามกฏหมาย กลไกการตรวจสอบกันเองของสื่อฯแล้ว กลไกโดยภาคประชาชนจะต้องมีความเข้มแข็ง  เป็นระบบ มีความต่อเนื่องยั่งยืน    มีการเชื่อมโยงการทำงานจากคณะทำงานหลากหลายสาขา และตรวจสอบสื่อหลากหลายประเภท ที่สำคัญให้มีส่วนร่วมจากภาคประชาชนอย่างกว้างขวาง


2. วัตถุประสงค์

1. เพื่อระดมความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆในการสร้างกลไกเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม

2. เพื่อระดมความคิดเห็นเรื่องการจัดตั้งองค์กรผู้บริโภคสื่อ  บทบาทหน้าที่ โครงสร้าง รูปแบบการทำงาน  

3. เพื่อเผยแพร่แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ


3. รูปแบบการจัดงาน


เวทีสัมมนาระดมความคิดเห็นกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย


4.  ผู้เข้าร่วมงาน

ประมาณ  200 คน ประกอบด้วยผู้แทนจากองค์กรและเครือข่ายที่ทำงานด้านการเฝ้าระวังสื่อ  การใช้สื่อเพื่อการเรียนรู้ ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค  นักวิชาการด้านนิเทศศาสตร์   สื่อของรัฐ สื่อภาคธุรกิจ สื่อภาคประชาชน   หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง  สมาคมวิชาชีพสื่อ ฯลฯ


5.  วัน เวลา สถานที่

วันพุธที่  6  ตุลาคม 2553 เวลา 09.00- 17.00 น.  ณ  โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น

ดอนเมือง กรุงเทพฯ


6.  ผู้รับผิดชอบโครงการ


คณะทำงานพัฒนากลไกการเฝ้าระวังการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน  ใน คณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความรับผิดชอบสื่อมวลชน(คพส .) ร่วมกับเครือข่ายปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง สนับสนุนโดย แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ


7.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ


1. ข้อเสนอแนะในเรื่องยุทธศาสตร์การทำงานเฝ้าระวังสื่อฯ และกลไก /องค์กรผู้บริโภคสื่อ

2 . รูปแบบความร่วมมือและการเชื่อมโยงของเครือข่าย

3.  สื่อมวลชนช่วยเผยแพร่แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของผู้บริโภคสื่อในการเฝ้าระวังการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนอย่างกว้างขวาง





 

สัมนาสาธารณะ : กลไกปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

วันพุธที่ 6  ตุลาคม 2553

จัดโดย คณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความรับผิดชอบสื่อมวลชน(คพส.) ร่วมกับเครือข่ายปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

ณ  โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ดอนเมือง กรุงเทพฯ



09.00- 09. 35 น.                                ลงทะเบียน  / ชมนิทรรศการ /  พร้อมรับประทานอาหารว่าง

09.35 - 09.45  น.               ชี้แจงวัตถุประสงค์ของงานพิธีเปิด

โดย คุณมานิจ สุขสมจิตร

ประธานคณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน( คพส.)       

09.45 - 09.50 น.                วิดีทัศน์  สื่อไทยใน 5  ปี ข้างหน้า

09.50 - 12.00 น.               อภิปราย กลไกภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ

ประเด็น 1. กลไกตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย  กฎระเบียบ  และจรรยาวิชาชีพ

2. บทเรียนของการขับเคลื่อน กลไกภาคประชาสังคม

3. รูปแบบและกลไกที่อยากให้มีในสังคมไทย

4. การรู้เท่าทันสื่อ

วิทยากร : ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ รองประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

คุณสารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

คุณวสันต์ ภัยหลีกลี้ ประธานสภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย

ดร. เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์  ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน

ผู้ดำเนินรายการ :  คุณสุวรรณา จิตประภัสสร์ กรรมการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

เปิดอภิปรายแลกเปลี่ยนและสรุป  

12.00-13.00 น.                พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00-15.00 น.                   สัมมนากลุ่มย่อย “กลไกภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ”

ห้องที่ 1 กลไกการสร้างองค์กรและเครือข่ายผู้บริโภคสื่อ

ห้องที่ 2 กลไกการพัฒนากฎหมายและจรรยาวิชาชีพสื่อ

ห้องที่ 3 กลไกการคุ้มครองผู้บริโภคและตรวจสอบสื่อ

ห้องที่ 4 กลไกการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy)

ห้องที่ 5 กลไกการเฝ้าระวังสื่อ (Media Monitor)

ห้องที่ 6 กลไกการรณรงค์ทางสังคม

15.00 - 15.20 น.                                พักรับประทานอาหารว่าง

15.20 - 16.20 น.                                นำเสนอผลการประชุมกลุ่มๆละ 10 นาที

16.20 - 17.00 น.                                อภิปราย และปิดสัมมนา

โดย รศ. จุมพล รอดคำดี

ประธานคณะทำงานพัฒนากลไกการเฝ้าระวังการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน

รายละเอียดห้องสัมนากลุ่มย่อย

“กลไกภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ”

เวลา 13.00-15.00 น.

ห้องที่ 1 กลไกการสร้างองค์กรและเครือข่ายผู้บริโภคสื่อ

ประธานกลุ่ม : คุณเข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จัดการแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน

วิทยากรหลัก : ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ รองประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ผู้บันทึกสาระ : คุณโสภิต หวังวัฒนา  สถานีทีวีไทย *

ผู้เข้าร่วมหลัก : สภาผู้ชม-ผู้ฟัง / สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม / เครือข่าย

แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน / คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ/    

เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : กลุ่ม WE ARE HAPPY

ห้องที่ 2 กลไกการพัฒนากฎหมายและจรรยาวิชาชีพสื่อ

ประธานกลุ่ม : คุณชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี ผู้อำนวยการสถาบันอิสรา

วิทยากรหลัก : คุณสุภิญญา กลางณรงค์  คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ   

อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล

คุณประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา ผู้อำนวยการสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม *

ผู้บันทึกสาระ : คุณสุเทพ วิไลเลิศ  คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ *

ผู้เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายพลเมืองเน็ต / องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน / กรมประชาสัมพันธ์ / กระทรวง

วัฒนธรรม / เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / สำนักงาน

คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก

ห้องที่ 3
กลไกการคุ้มครองผู้บริโภคและตรวจสอบสื่อ

ประธานกลุ่ม : คุณวันชัย วงศ์มีชัย คณะทำงานฯ คพส.

วิทยากรหลัก : คุณอิฐบูรณ์  อ้นวงษา  มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

ผู้บันทึกสาระ : คุณเสาวนีย์ ฉ่ำเฉลียว มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

ผู้ เข้าร่วมหลัก : กลุ่มทนายอาสา มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค / สมาคมเคเบิ้ลทีวี / องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน /  เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค / กลุ่มตาสัปปะรด / นักวิชาการ /สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม /คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

ห้องที่ 4
กลไกการรู้เท่าทันสื่อ

ประธานกลุ่ม : คุณนิรันดร์ เยาวภาว์ คณะทำงานฯ คพส.

วิทยากรหลัก : ดร. จิรพร วิทยศักดิ์พันธุ์ คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่*

ผู้บันทึกสาระ : อ.อังคณา พรหมรักษา*

ผู้ เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / เครือข่าย Media Monitor / เครือข่ายแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน /เครือข่ายนักวิชาการ

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ

ห้องที่ 5 กลไกการเฝ้าระวังสื่อ

ประธานกลุ่ม : คุณสุวรรณา จิตประภัสสร์ กรรมการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

วิทยากรหลัก : ดร. เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน

ผู้บันทึกสาระ : คุณธาม เชื้อสถาปนศิริ  

ผู้จัดการกลุ่มงานวิชาการ โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม

ผู้ เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / สถาบันวิชาการ / กลุ่มที่ทำโพลล์ / ศูนย์วิจัยทางวิชาการและด้านสื่อ / กระทรวงวัฒนธรรม / กลุ่มอย.น้อย / สภาเด็กและเยาวชน / สภาผู้ชม-ผู้ฟัง / โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.)

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม

ห้องที่ 6 กลไกการรณรงค์ทางสังคม

ประธานกลุ่ม : อ.นวลน้อย ตรีรัตน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย*

วิทยากรหลัก : รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ ผู้อำนวยการสำนักรณรงค์และสื่อสารสาธารณะ

เพื่อสังคม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

ผู้บันทึกสาระ :  คุณโกศล สงเนียม  คณะทำงานฯ คพส.

ผู้ เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายวิทยุชุมชน / เครือข่ายองค์กรงดเหล้า /  เครือข่ายพลังบวก / เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ/ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ / เครือข่ายศิลปิน / คณะทำงานปฎิรูปสื่อ จากกรรมการสมัชชาปฏิรูป

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก


หมายเหตุ : * รายชื่อวิทยากรอยู่ในช่วงประสานงาน

--

วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 เวลา 13.30 - 16.30 น. ณ ห้อง F337 ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์ 2 ใกล้ประตูท่าพระอาทิตย์

Sustainability” ส่วนผสมใหม่ในการกำหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ
ตอนที่ 2 “รู้จักเครื่องมือสำหรับใช้วางแผนปฏิบัติการกลยุทธ์ 3 ผสาน”


วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 เวลา 13.30
– 16.30 น. ณ ห้อง F337 ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์ 2 ใกล้ประตูท่าพระอาทิตย์ (ดาวน์โหลดแผนที่) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ
ผู้ที่พลาดงานเสวนาตอนที่ 1 สามารถเข้าฟังได้โดยไม่เสียอรรถรส 
(บรรยายภาษาอังกฤษสลับการสรุปความภาษาไทย)
 

วิทยากร
1.       Mr. Robert Steele Director/ SystainabilityAsia, Senior Associate/ AtKissonGroup
2.       อาจารย์ ดร. พีรเศรษฐ์ ชมพูมิ่ง อาจารย์ประจาสาขาวิชาบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ คณะพาณิชย์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ผู้บริหารที่ต้องการดำเนินธุรกิจโดยนำเอาแนวคิด Sustainablity เข้ามาประยุกต์ใช้แต่ไม่รู้ว่าจะวางแผนอย่างไร งานเสวนาครั้งนี้มีคำตอบให้

ในการสัมมนาครั้งนี้เราจะแนะนำให้รู้จักกับ AtKisson Accelerator ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนการฝึกอบรม การวางแผน การประเมินและตัดสินใจเพื่อนำเอา Sustainablity มาผสมผสานในการทำธุรกิจ เครื่องมือนี้ได้ผ่านการทดลองการใช้งานในองค์กรต่างๆทั้งภาคธุรกิจ หน่วยงานรัฐบาล ชุมชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย และองค์กรขนาดเล็ก เครื่องมือ Accelerator ได้ พิสูจน์ให้เห็นถึงการใช้งานได้ดีในต่างวัฒนธรรมและต่างประเภทขององค์กร ตั้งแต่ บริษัทในอินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ยุโรปและสหรัฐอเมริกา จนถึง ชุมชน เทศบาลท้องถิ่น รัฐบาล โรงเรียนและมหาวิทยาลัยในยุโรป อเมริกา แอฟริกา มาเลเซีย ออสเตรเลีย ไทยและ สหราชอาณาจักร เครื่องมือนี้สามารถใช้ร่วมกับ GRI (Global Reporting Initiative) หรือ Balanced Scorecard  การสัมมนาในครั้งนี้ผู้เข้าอบรมจะได้เรียนรู้ AtKisson Accelerator ในเบื้องต้นจากการบรรยายและทำ workshop เพื่อช่วยให้การเดินทางเริ่มต้นง่ายขึ้น สำหรับธุรกิจที่ได้เริ่มออกสตาร์ทมาแล้วก็จะเป็นเครื่องนำทางให้ท่านดำเนินการต่อจนประสบผลสำเร็จ

 

สิ่งที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับ
1.      เข้าใจทฤษฏีและแนวคิดพื้นฐานที่ช่วยอธิบายว่าเหตุใดการนำเอาการพัฒนาอย่างยั่งยืนมาใช้ในธุรกิจจึงก่อให้เกิดผลดีต่อธุรกิจในระยะยาว
2.      รู้จักเครื่องมือสำคัญที่ในการจุดประกายความคิดในการสร้างกลยุทธ์ทางธุรกิจบนพื้นฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
3.      บริหารความคิดหาวิธีการนำเครื่องมือไปประยุกต์ใช้จริงในธุรกิจของท่าน
กำหนดการ
13.00-13.30 น.
ลงทะเบียน
13.30-13.40 น.
แนะนำภาพรวมของกิจกรรม
13.40-14.20 น.
Session 1: Doing Sustainability . . . challenges, steps, tools, and methods
นำเสนอทฤษฏีและแนวคิดที่เป็นพื้นฐานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนทบทวนกรอบแนวคิด Sustainability เช่น  Triple Bottom Line (TBL), The Natural Step (TNS) and Global Reporting Initiative (GRI) ตลอดจนความท้าทาย ขั้นตอน เครื่องมือ และวิธีการ
14.20-15.15 น.
Session 2: The Sustainability Compass (กิจกรรมกลุ่มย่อย)
แนะนำให้รู้จัก Sustainability Compass เครื่องมือนำทางที่ทำให้เห็นภาพการเชื่อมโยงระหว่างตัวปัญหาที่มาจากทุกสาร ทิศคือ N=Nature E= Economy W=Wellbeing และ S=  Society อันอาจส่งผลต่อการดำเนินงานในด้านต่างๆเช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต การตลาด การลำเลียงและการใช้วัตถุดิบ ความต้องการของลูกค้า การจัดจำหน่าย การลงทุนเพิ่ม ฯลฯ   มีการทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อให้ทุกคนได้ทดลองใช้เครื่องมือเพื่อฝึกฝนให้เห็น ปัญหา ผลกระทบของปัญหาเหล่านั้น คิดหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหา และทำการเปลี่ยนแปลงเพื่อหาทางป้องกันปัญหา
15.15-15.30 น.
Coffee Break บริการที่ห้องอาหารโดมพระจันทร์ ชั้น 2
15.30-16.00 น.
Session 3: An overview of  ISIS Sustainability ACCELERATOR Tools
แนะนำให้รู้จัก ISIS Sustainability Accelerator เครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจปัญหา รู้ทางออก สามารถกำหนดกลยุทธ์และเร่งลงมือเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน
16.00-16.15 น.
สรุปประเด็นสำคัญจากการเสวนา
16.15-16.30 น.
ถาม-ตอบ


--

วันอังคารที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 เวลา 09.00- 17.00 น. ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ดอนเมือง กรุงเทพฯ

กำหนดการสัมนาสาธารณะ : โครงการกลไกเฝ้าระวังสื่อภาคพลเมือง

วัน เวลา: 
06/10/2010

สัมมนาสาธารณะ : กลไกปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

วันพุธที่ 6  ตุลาคม 2553

จัดโดย คณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความรับผิดชอบสื่อมวลชน ร่วมกับเครือข่ายปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

 

 

1. หลักการและเหตุผล  

 

          วิกฤติการณ์ของสังคมที่มีความซับซ้อนและสะสมมายาวนาน ส่งผลให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมหลายด้าน จนกระทั่งเกิดความขัดแย้งทางด้านความคิดและการเมืองอย่างรุนแรง ในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา จึงมีกระแสการเรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศไทยในทุกด้านอย่างจริงจัง  และ การปฏิรูปสื่อ เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการให้เกิดผล เพื่อให้สื่อได้ทำบทบาทหน้าที่อย่างเหมาะสมและร่วมนำพาประเทศชาติให้หลุดพ้นวิกฤติและก้าวไปข้างหน้า

 

          ดังที่ทราบกันดีว่า ในอดีตมีความพยายามในการผลักดันการปฏิรูปสื่อมาไม่ต่ำกว่าทศวรรษ มีการปรับปรุงและพัฒนากฏหมายหลายฉบับ มีความพยายามจัดการเรื่องโครงสร้าง ความเป็นเจ้าของสื่อ การพัฒนามาตรฐานจรรยาบรรณ ในสื่อต่างๆ ฯลฯ กระนั้นการปฏิรูปก็ยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย เพราะการปฏิรูปสื่อนั้นต้องดำเนินการร่วมกันทุกฝ่าย  และในทุกกระบวนการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการปฏิรูปและการพัฒนาที่ยั่งยืน 

 

          จะเห็นว่าในระยะหลังๆ ภาคประชาชนหลายกลุ่ม เริ่มเข้ามามีบทบาทในการเฝ้าระวังตรวจสอบสื่อ แต่ยังสร้างการเปลี่ยนแปลงของสื่อได้ไม่มากนัก เพราะมีอุปสรรคและช่องว่างหลายประการ อาทิ ขาดการยอมรับจากองค์กรสื่อและองค์กรรัฐ ไม่ทันต่อสถานการณ์ของสื่อที่มีความรวดเร็วสูง มีลักษณะต่างคนต่างทำ ฯลฯ ที่สำคัญประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงผลกระทบของสื่อ และไม่เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ 

 

          แนวโน้มในอนาคต เทคโนโลยีการสื่อสารจะมีการเติบโตและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สื่อรูปแบบใหม่ๆ จะเข้าถึงชุมชนอย่างกว้างขวาง สื่อจะมีบทบาทมากยิ่งขึ้นในวิถีชีวิตของผู้คน ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะตระหนักในเรื่องนี้  มีการเรียนรู้เท่าทันสื่อ มีบทบาทมากขึ้นในการตรวจสอบการทำหน้าที่ของสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

          นอกจากกลไกตามกฏหมาย กลไกการตรวจสอบกันเองของสื่อฯแล้ว กลไกโดยภาคประชาชนจะต้องมีความเข้มแข็ง เป็นระบบ มีความต่อเนื่องยั่งยืน มีการเชื่อมโยงการทำงานจากคณะทำงานหลากหลายสาขา และตรวจสอบสื่อหลากหลายประเภท ที่สำคัญให้มีส่วนร่วมจากภาคประชาชนอย่างกว้างขวาง   

 

 

2. วัตถุประสงค์

 

1. เพื่อระดมความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆในการสร้างกลไกเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม

 

2. เพื่อระดมความคิดเห็นเรื่องการจัดตั้งองค์กรผู้บริโภคสื่อ  บทบาทหน้าที่ โครงสร้าง รูปแบบการทำงาน  

 

3. เพื่อเผยแพร่แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ

 

3. รูปแบบการจัดงาน   

 

เวทีสัมมนาระดมความคิดเห็นกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย

 

4.  ผู้เข้าร่วมงาน 

 

ประมาณ 200 คน ประกอบด้วยผู้แทนจากองค์กรและเครือข่ายที่ทำงานด้านการเฝ้าระวังสื่อ การใช้สื่อเพื่อการเรียนรู้ ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค นักวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ สื่อของรัฐ สื่อภาคธุรกิจ สื่อภาคประชาชน หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง สมาคมวิชาชีพสื่อ ฯลฯ

 

5.  วัน เวลา สถานที่

 

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 เวลา 09.00- 17.00 น. ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ดอนเมือง กรุงเทพฯ

 

6.  ผู้รับผิดชอบโครงการ  

 

            คณะทำงานพัฒนากลไกการเฝ้าระวังการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน ใน คณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความรับผิดชอบสื่อมวลชน (คพส .) ร่วมกับเครือข่ายปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง สนับสนุนโดย แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

 

7.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

1. ข้อเสนอแนะในเรื่องยุทธศาสตร์การทำงานเฝ้าระวังสื่อฯ และกลไก /องค์กรผู้บริโภคสื่อ

 

2. รูปแบบความร่วมมือและการเชื่อมโยงของเครือข่าย

 

3. สื่อมวลชนช่วยเผยแพร่แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของผู้บริโภคสื่อในการเฝ้าระวังการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนอย่างกว้างขวาง

 

 

 

กำหนดการ

สัมมนาสาธารณะ : กลไกปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

วันพุธที่ 6  ตุลาคม 2553

จัดโดย คณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความรับผิดชอบสื่อมวลชน(คพส.) ร่วมกับเครือข่ายปฎิรูปสื่อภาคพลเมือง

  โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ดอนเมือง กรุงเทพฯ

 

 

09.00- 09. 35 น.          ลงทะเบียน  / ชมนิทรรศการ /  พร้อมรับประทานอาหารว่าง

 

09.35 - 09.45 น.          ชี้แจงวัตถุประสงค์ของงานพิธีเปิด

โดย คุณมานิจ สุขสมจิตร

ประธานคณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน( คพส.)  

 

09.45 - 09.50 น.          วิดีทัศน์  สื่อไทยใน 5  ปี ข้างหน้า 

 

09.50 - 12.00 น.         อภิปราย กลไกภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ

ประเด็น 1. กลไกตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย  กฎระเบียบ  และจรรยาวิชาชีพ

2. บทเรียนของการขับเคลื่อน กลไกภาคประชาสังคม

3. รูปแบบและกลไกที่อยากให้มีในสังคมไทย

4. การรู้เท่าทันสื่อ

                                    วิทยากร : รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ ผู้อำนวยการสำนักรณรงค์และสื่อสารสาธารณะ

                                                   เพื่อสังคม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

    คุณสารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

                                                    คุณวสันต์ ภัยหลีกลี้ ประธานสภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย

                                                    ร. เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์  ประธานสถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน

                                    ผู้ดำเนินรายการ : คุณสุวรรณา จิตประภัสสร์ กรรมการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

            เปิดอภิปรายแลกเปลี่ยนและสรุป  

 

12.00-13.00 น.            พักรับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00-15.00 น.            สัมมนากลุ่มย่อยกลไกภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ

ห้องที่ 1 กลไกการสร้างองค์กรและเครือข่ายผู้บริโภคสื่อ

ห้องที่ 2 กลไกการพัฒนากฎหมายและจรรยาวิชาชีพสื่อ

ห้องที่ 3 กลไกการคุ้มครองผู้บริโภคและตรวจสอบสื่อ

ห้องที่ 4 กลไกการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy)

ห้องที่ 5 กลไกการเฝ้าระวังสื่อ (Media Monitor)

ห้องที่ 6 กลไกการรณรงค์ทางสังคม

 

15.00 - 15.20 น.          พักรับประทานอาหารว่าง

 

15.20 - 16.20 น.          นำเสนอผลการประชุมกลุ่มๆ ละ 10 นาที

 

16.20 - 17.00 น.          อภิปราย และปิดสัมมนา

โดย รศ. จุมพล รอดคำดี   

ประธานคณะทำงานพัฒนากลไกการเฝ้าระวังการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน

 

 

รายละเอียดห้องสัมมนากลุ่มย่อย

กลไกภาคประชาสังคมในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อ

เวลา 13.00-15.00 น.

 

ห้องที่ 1 กลไกการสร้างองค์กรและเครือข่ายผู้บริโภคสื่อ

                        ประธานกลุ่ม : คุณเข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จัดการแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน

                        วิทยากรหลัก : คุณสารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

                        ผู้บันทึกสาระ : คุณโสภิต หวังวัฒนา  อุปนายก สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย

                        ผู้เข้าร่วมหลัก : สภาผู้ชม-ผู้ฟัง / สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม /

         เครือข่ายแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน / คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ/ เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ

                        ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : กลุ่ม WE ARE HAPPY

 

ห้องที่ 2 กลไกการพัฒนากฎหมายและจรรยาวิชาชีพสื่อ

                        ประธานกลุ่ม : คุณชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี ผู้อำนวยการสถาบันอิศรา

                        วิทยากรหลัก : อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล

                                            นพ. ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา ผู้อำนวยการสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ

                                            โทรคมนาคมคุณสุภิญญา กลางณรงค์ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ

                        ผู้บันทึกสาระ : คุณสุเทพ วิไลเลิศ  

                        ผู้เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายพลเมืองเน็ต / องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน / กรมประชาสัมพันธ์ /

                                            กระทรวงวัฒนธรรม / เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ /

                                            สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

                        ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก

 

ห้องที่ 3 กลไกการคุ้มครองผู้บริโภคและตรวจสอบสื่อ

                        ประธานกลุ่ม : คุณวันชัย วงศ์มีชัย คณะทำงานฯ คพส.

                        วิทยากรหลัก : คุณอิฐบูรณ์  อ้นวงษา  มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

                        ผู้บันทึกสาระ : คุณเสาวนีย์ ฉ่ำเฉลียว มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

ผู้เข้าร่วมหลัก : กลุ่มทนายอาสา มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค / สมาคมเคเบิ้ลทีวี / องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน / เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค / กลุ่มตาสัปปะรด / นักวิชาการ /สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม /คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

 

ห้องที่ 4 กลไกการรู้เท่าทันสื่อ

                        ประธานกลุ่ม : คุณนิรันดร์ เยาวภาว์ คณะทำงานฯ คพส.

                        วิทยากรหลัก : ดร. จิรพร วิทยศักดิ์พันธุ์ คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

                        ผู้บันทึกสาระ : อ.อังคณา พรหมรักษา ที่ปรึกษากลุ่มงานขยายผล

                                            โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม

ผู้เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / เครือข่าย Media Monitor /

                      เครือข่ายแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน /เครือข่ายนักวิชาการ

            ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ

 

ห้องที่ 5 กลไกการเฝ้าระวังสื่อ

                        ประธานกลุ่ม : คุณสุวรรณา จิตประภัสสร์ กรรมการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

                        วิทยากรหลัก : ดร. เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์ ประธานสถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน

                        ผู้บันทึกสาระ : คุณธาม เชื้อสถาปนศิริ  

        ผู้จัดการกลุ่มงานวิชาการ โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม

ผู้เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ / สถาบันวิชาการ / กลุ่มที่ทำโพลล์ / ศูนย์วิจัยทางวิชาการและด้านสื่อ / กระทรวงวัฒนธรรม / กลุ่มอย.น้อย / สภาเด็กและเยาวชน / สภาผู้ชม-ผู้ฟัง / โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.)

            ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม

 

ห้องที่ 6 กลไกการรณรงค์ทางสังคม

                        ประธานกลุ่ม : แพทย์หญิงพรรณพิมล หล่อตระกูล ผู้อำนวยการสถาบันราชานุกูล

                        วิทยากรหลัก : รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ ผู้อำนวยการสำนักรณรงค์และสื่อสารสาธารณะ

                                             เพื่อสังคม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

                        ผู้บันทึกสาระ :  คุณโกศล สงเนียม  คณะทำงานฯ คพส.

ผู้เข้าร่วมหลัก : เครือข่ายวิทยุชุมชน / เครือข่ายองค์กรงดเหล้า / เครือข่ายพลังบวก / เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ/ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ / เครือข่ายศิลปิน / คณะทำงานปฎิรูปสื่อ จากกรรมการสมัชชาปฏิรูป

ผู้รับผิดชอบห้องย่อย : มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก

 

 

ดาวน์โหลดแผนที่การเดินทาง ได้ที่นี่ 

 

 

 

ที่มา : แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.)



--

วันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 เวลา 12.30 - 16.00 น. ห้องบอลรูม โรงแรม โฟร์ซีซัน ถนนราชดำริ กรุงเทพฯ

     D:\โลโก้\UTCC_LOGO.jpg             THAN[1]      107KB_Logo(HC)L

 

กำหนดการสัมมนา

        

Professional Family Business

ธุรกิจครอบครัว...อยู่รอดอย่างมืออาชีพ

 

                                                        จัดโดย

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ   ธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาชน)

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553 เวลา  12.30 16.00 น.  ห้องบอลรูม โรงแรม โฟร์ซีซัน ถนนราชดำริ กรุงเทพฯ

………………………………………………………………………………………………………………

 

12.30- 13.00 น.         ลงทะเบียน

13.00- 13.10 น.         ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล

คณบดีคณะบริหารธุรกิจและผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัวและSMEs

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  กล่าวเปิดงาน

13.10 - 14.00 น.        ดร.ภูษิต  วงศ์หล่อสายชล

อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย   

บรรยายพิเศษ “การบริหารธุรกิจครอบครัวอย่างมืออาชีพ”

14.00 - 15.30 น.        เสวนา รัก โลภ โกรธ หลง ในธุรกิจครอบครัว

- นายนพดล  ธรรมวัฒนะ ประธานกรรมการ

  บริษัท บีจีที คอร์ปอเรชั่น จำกัด(มหาชน)

- นายยงยุทธ  กิตะพาณิชย์  รองประธานกรรมการและกรรมการบริหาร

                     บริษัท  สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน)

                   -  ดำเนินรายการโดย  ผศ.ทองทิพภา วิริยะพันธุ์

  อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ  มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

15.30- 16.00 น.         ถาม-ตอบ

16.00 น.                  จบการสัมมนา  

 

///////////////////////////////////////////////////////

 

สำรองที่นั่งได้ที่ :      โทร 02-697-6351  คุณดวงเดือน

                                 โทร 02-697-6352  คุณทัศวรรณ

 



--

ผู้ติดตาม

คลังบทความของบล็อก